3 มาตรการพักชําระหนี้ธนชาต เพื่อช่วยเหลือลูกค้าสินเชื่อ

ธนาคารธนาชาตได้มีการประกาศขยายเวลาขอพักชําระหนี้ธนชาตทั้ง 3 มาตรการออกไปจนถึงเดือนมิถุนายน 2567 ทั้งในส่วนของโครงการพักชําระหนี้รถยนต์, โครงการธนชาตตั้งหลัก 2, และแนวทางช่วยเหลือสำหรับลูกค้าสินเชื่อทุกประเภทที่เป็นการกู้เงินผ่านธนาคาร

โดยผู้ที่ต้องการลงทะเบียนพักชําระหนี้ธนชาตรอบ 2 สามารถลงทะเบียนเข้าร่วมมาตรการช่วยเหลือพักชําระหนี้ได้ที่เว็บไซต์ของธนาคารธนชาต ภายในวันที่ 30 มิถุนายน 2567 โดยรายละเอียดการพักชําระหนี้ทุกธนาคารไม่ว่าจะเป็นธนาคารธนชาตหรือธนาคารทหารไทย มีข้อมูลดังนี้

มาตรการพักชําระหนี้ธนชาตแนวทางช่วยเหลือสำหรับลูกค้าสินเชื่อประเภทต่างๆ

แนวทางช่วยเหลือสำหรับลูกค้าสินเชื่อส่วนบุคคลออนไลน์ประเภทต่างๆในมาตรการพักชําระหนี้ธนาคารธนชาต แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ ดังนี้

  1. ลูกค้าสินเชื่อบัตรเครดิตและบัตรกดเงินสด – ปรับลดอัตราผ่อนชำระขั้นต่ำให้กับลูกค้าทุกรายโดยไม่ต้องติดต่อธนาคาร และสำหรับผู้ที่ได้รับผลกระทบโดยตรงจะมีการปรับลดอัตราดอกเบี้ยและเพิ่มจำนวนงวดในการชำระยอดคงค้าง สูงสุด 48 เดือน
  2. สินเชื่อส่วนบุคคล – ลดยอดผ่อนชำระเหลือ 70% นาน 6 เดือน โดยต้องลงทะเบียนพักชําระหนี้ธนชาตภายใน 30 มิถุนายน 2567
  3. สินเชื่อบ้าน – สินเชื่อบ้านจะมีมาตรการช่วยเหลืออยู่ 3 รูปแบบ คือ
  • พักชำระเงินต้น และชำระเฉพาะค่าดอกเบี้ย นาน 6 เดือน
  • ลดยอดผ่อนชำระเหลือ 70% นาน 6 เดือน
  • พักชำระค่างวดทั้งเงินต้นและดอกเบี้ย นาน 3 เดือน

มาตรการพักชําระหนี้ธนชาตโครงการพักชําระหนี้รถยนต์ธนชาต DRIVE

มาตรการพักชําระหนี้รถยนต์ธนชาตรอบ 2 จะแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือกลุ่มรถยนต์ใหม่, รถยนต์ใช้แล้ว, และรถแลกเงิน และกลุ่มสินเชื่อเล่มแลกเงิน โดยในแต่ละประเภทของโครงการพักชําระหนี้ธนชาต มีรายละเอียดดังนี้

  1. กลุ่มรถยนต์ใหม่ รถยนต์ใช้แล้ว และรถแลกเงิน – ลดค่างวดโดยการขยายระยะเวลาการผ่อนชำระหนี้ หรือพักชำระค่างวดเป็นระยะเวลา 3 เดือน อย่างใดอย่างหนึ่ง
  2. กลุ่มสินเชื่อเล่มแลกเงิน – ปรับอัตราดอกเบี้ยสูงสุดไม่เกินร้อยละ 22 และลดค่างวดในการผ่อนชำระต่อเดือนสูงสุด 30% เป็นระยะเวลา 6 เดือน

มาตรการพักชําระหนี้ธนชาตโครงการธนชาตตั้งหลักเพื่อกลุ่มลูกค้าธุรกิจ

และมาตรการพักชําระหนี้ธนชาตโครงการสุดท้ายคือมาตรการของกลุ่มลูกค้าธุรกิจ ซึ่งจะเป็นแบ่ง กลุ่มลูกค้า SME และกลุ่มลูกค้าธุรกิจขนาดใหญ่ ซึ่งจะมีการแบ่งย่อยตามประเภทของสินเชื่อตามที่ธนาคารกำหนด เป็นวงเงินกู้ระยะยาวและวงเงินสินเชื่อหมุนเวียน ซึ่งจะมีแนวทางในการให้ความช่วยเหลือในรอบ 2 ที่แตกต่างกัน 

โดยในกรณีที่บริษัทที่เป็นลูกค้าของสินเชื่อประเภทนี้ มีการขาดสภาพคล่องทางการเงินเนื่องจากได้รับผลกระทบโดยตรง ต้องติดต่อธนาคารผู้ให้สินเชื่อเพื่อทำการลงทะเบียนภายในวันที่ 30 มิถุนายน 2567